วันอาทิตย์ที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2556

สื่อกลุ่ม

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556


สื่อจากวัสดุเหลือใช้ > แกนกระดาษทิชชู่ 


สื่อแผนภูมิรูปภาพ




งานที่ได้รับมอบหมายทั้งหมด ^^






************************************************************************

วันอังคารที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2556

สรุปงานวิจัย


การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่บกพร่องทางการได้ยิน
ด้วยชุดการสอนคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐาน




ปริญญานิพนธ์
ของ
ลิดา  จันทร์ตรี




วันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 16

วันที่ 14 กุมภาพันธ์  2556

กิจกรรมการเรียนการสอน

 - อาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนเข้าร่วมกิจกรรม " โครงการส่งเสริมการใช่แก้วน้ำส่วนตัว "   ณ ลานแดง หน้าคณะวิยาการจัดการ



- อาจารย์พูดถึง" ลายมือ "
- อาจารย์นำภาพที่เป็นผังมโนทัศน์ในการนำเสนอข้อมูลคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย มาให้ศึกษา



- อาจารย์ให้ดูงานศิลปะชองเด็กปฐมวัยที่บูรณาการคณิตศาสตร์  จากโรงเรียนเกษมพิทยา



- เพื่อน "สอบสอน"   หน่วย ...ธรรมชาติ (ทะเลแสนงาม)

วิธีการสอนของเพื่อน คือ
      1.  ใช้คำถาม "เด็กๆเคยไปเที่ยวทะเลไหมค่ะ?"   แล้วที่ทะเลมีสัตว์อะไรบ้าง?
      2.  ใช้นิทานเป็นสื่อการสอนเรื่องทะเล  นิทานเรื่อง .... โลกใต้ท้องทะเล
      Comment จากอาจารย์ผู้สอน
          การที่จะสอนวันจันทร์ ไม่ควรใช้นิทานมาเป็นการสอนวันแรก เพราะนิทานต้องเป็นเรื่องของประโยชน์  , เกี่ยวกับเรื่องราว และสาระต่างๆ 

- เพื่อน  "สอบสอน"  หน่วย ... ผม

วิธีการสอน
   วันจันทร์// ชนิดของผม
   1. เอามือจับหัว จับไหล่ จับหัว ( 2 รอบ)
   2. ใช้คำถามเชิญชวน "เด็กๆลองสัมผัสดูสิค่ะว่า เด็กๆจับอะไรอยู่ ?"

ข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้สอน
 1. จุดมุ่งหมายของการสอน เรื่อง  "ผม"  คือ ? > อยากให้รู้เรื่องผมเพื่อการดูแลรักษา
 2. ต้องทำ Mind Mapping  เรื่องชนิดของ "ผม"
 3. การสอนในวันจันทร์ต้องเป็นเรื่องลักษณะของ "ผม"
 4. การเปรียบเทียบต้องเป็นชนิดเดียวกัน  แต่ต้องมีจุดเด่นของสิ่งนั้นๆ
 5. การนำเสนอข้อมูล
       5.1  ลักษณะของผม -Mind mapping
       5.2  การทำสถิติความชอบของเด็ก "ผม"สั้น,"ผม"ยาว
       5.3  หน้าที่ของ"ผม"  -  นิทาน ,Mind mapping 
       5.4  ประโยชน์และข้อควรระวัง - การเปรียบเทียบ
       5.5  วิธีดูแลรักษา - Mind mapping (แสดงขั้นตอนของการดูแลรักษา)
       5.6  อาชีพที่เกิดจาก "ผม"  - mind mapping

หมายเหตุ ...

     แผนการสอน วันศุกร์ ( หน่วย ครอบครัว ... เรื่อง กิจวัตรประจำวัน )








วันพฤหัสบดีที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 15

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2556

กิจกรรมการเรียนการสอน

- เพื่อน "สอบสอน"

หน่วย ... ต้นไม้

วันจันทร์ / เรื่อง ... ประเภท 

    ** อาจารย์พูดยกตัวอย่างของสัปดาห์ที่แล้ว **
1. เรื่องของต้นไม้ สามารถล้อเลียนเรื่องของ "ดิน" ได้
2. คำถาม "ที่บ้านของเด็กมีต้นไม้อะไรบ้าง ?"
3. แนะนำต้นไม้ ... โดยนำ "ต้นไม้" มาสอนได้ เช่น ต้นมะขาม (ไม้ยืนต้น)  ผักชี (ไม้ล้มลุก) เป็นต้น
4. แยกประเภท (ถ้าเด็กยังไม่รู้ "คอนเซป" ) โดย แยกขนาดของลำต้น -> ใหญ่ - เล็ก
5. สอนว่า "ต้นไม้ยืนต้นเป็นอย่างไร ? " หรือ "ต้นไม้ล้มลุกเป็นอย่างไร ? ".

วันอังคาร / เรื่อง ... ลักษณะของต้นไม้

1. "เมื่อวานเด็กๆ รู้จักอะไรบ้าง?" และ "ประเภทไหนบ้าง?"
2.นำต้นไม้มา (ไม้ยืนต้น, ไม้ล้มลุก) แล้วให้เด็กสังเกต
3. ส่งต้นไม้ให้เด็กๆดู (*นำมาหลายๆต้น*) แต่ต้องส่งให้เด้กดูทีละประเภท
4. ความแตกต่างของ ราก,พื้นผิว, สี, ลักษณะลำต้น ฯลฯ


5.นำเสนอเป็น "ยูเนี่ยน" ที่เชื่อมโยงกัน


วันพุธ / เรื่อง ... ส่วนประกอบ

1. "ส่วนประกอบของต้นไม้มีกี่อย่าง ? "
2. ราก ของต้นไม้ = ปากของคน (ดูดน้ำ)
3. นำรูปต้นไม้มา ..





4. บอกหน้าที่ของต้นไม้
5. สอนเด็กเรื่อง "ตำแหน่ง" ได้
6. นำเสนอเป็นแผนภูมิ

เปรียบเทียบ 1:1 

วันพฤหัสบดี / เรื่อง ..ประโยชน์ของต้นไม้

1. เล่านิทาน
2. ไม่จำเป็นต้องสอน  "นับ" คณิตศาสตร์ (เพราะสอนตั้งแต่วันแรกแล้ว)
3. สอดแทรก "คณิตศาสตร์" แค่นิดเดียวก็พอ แต่เน้น "เรื่อง ของประโยชน์ของต้นไม้"

วันศุกร์ / เรื่อง ... โทษของต้นไม้

1. ใช้คำถามเชิญชวน "เด็กๆเคยได้รับอันตรายจากต้นไม้หรือเปล่า? "
2. ภาพเด็กได้รับอันตรายจากต้นไ้ม้

** อันตรายจากต้นไม้ **

3. ใช้นิทานในการสอนดีที่สุด















วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 14

วันที่ 31 มกราคม  2556

กิจกรรมการเีรียนการสอน

-  สอบสอนแบบบรูณาการ โดนอิงมาตรฐานการเรียนรู้จากกรอบมาตรฐาน
     สิ่งที่แนะนำ
           1. ไม่ควรพูดว่า "สวัสดีค่ะ เด็กๆ" เพราะเป็นกิจกรรมตอนประมาน 10.00 น.
           2.  เขียนคำให้เด็กเห็น เพราะให้เด็กมีประสบการณ์กับคำนั้นๆ

การสอนของเพื่อน หน่วย ดิน

วันจันทร์  (เรื่อง ดิน)
    1.  การนำเข้าสู่บทเรียน โดย การเปิดประเด็น เพื่อ ...
          -  รู้ประสบการณ์เดิม
          - แชร์ความรู้
    2.  เขียน "คำ" เพื่อให้มีประสบการณ์
    3.  ควรเขียนให้อยู่บรรทัดเดียวกับ 10 คำ (ฐานสิบ)
    4. ไม่ควรขัดความคิดของเด็ก
    5. .ใส่ตัวเลขกำกับ
    6. นำใส่ตระกร้ามาและใช้คำถามเชิญชวนโดยสอดคล้องกับเรื่องที่สอนเพื่อให้เด็กคิดเชื่อมโยง, การคาดคะเน, มีเหตุผล
    7.  แยกประเภท (นับทั้งหมด) เริ่มจากด้ายซ้าย -> ขวา
    8. เปรียบเทียบ 1:1 (เพื่อให้เด็กเห็นการเปรียบเทียบอย่างชัดเจน)

วันอังคาร (เรื่อง ลักษณะของดิน)
    1. ทบทวนเรื่องของเมื่อวาน
    2. ใช้คำถามเชิญชวน และสอนต่อ
    3. เขียนตารางสรุป


วันพุธ (เรื่อง ในดิน)
    1. ทบทวนเรื่องเดิม
    2. คำถาม "ในดินมีอะไรบ้าง?"
    3. พาไปสังเกตข้างนอก
    4. ครูเตรียมสิ่งของมาแทนการเขียน เช่น เปลือกหอย, กิ่งไม้, ก้อนหิน
    5. สอนเรื่องการหาร


** สื่อคือตัวกลางในการเรียนรู้ **
วันพฤหัสบดี (เรื่อง ประโยชน์ของดิน)
    1.ทบทวน
    2. ประโยชน์ของดิน (ให้เล่านิทาน หรือ เพลง )

วันศุกร์ (เรื่อง ข้อควรระวัง)
    1. ทบทวนสิ่งที่อยู่ในดิน
    2.  ข้อควรระวัง (ใช้นิทาน)





ครั้งที่ 13

วันที่ 24 มกราคม 2556

กิจกรรมการเรียนการสอน

- ให้ทำตาราง 3 ช่อง เขียนแผนการสอนแต่ละวัน คือ ...
   1. หน่วยการสอน
   2. สาระการเรียนรู้
   3. บรูณาการ



** ให้สอนเด็กแค่  20 นาที เพราะเด็กมีความสนใจในระยะสั้น **

วิธีการเรียนรู้  -> ลงมือกระทำกับวัตถุด้วยประสามสัมผัสทั้ง 5 

ถ้าเมื่อใดพูดถึง = ประโยชน์ -> ต้องอธิบายจาก "นิทาน" ถึงจะดีที่สุด 

ครั้งที่ 12

วันที่ 17 มกราคม 2556





 *******    ลากิจ เนื่องจาก ลุงเสียชีวิต  *******