วันอาทิตย์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2555

ครั้งที่ 6

วันที่  6 ธันวาคม 2555

กิจกรรมการเรียนการสอน
  - นำกล่องที่เตรียมมาวิเคราะห์เกี่ยวกับ ขอบข่ายคณิตศาสตร์

กล่องสี่เหลี่ยมเหมือนกัน แต่ขนาดต่างกัน

*นำของเหลือใช้มาสอนเด็กได้*

วิธีการให้เด็กเกิดการรับรู้

   1. เรียนรู้ผ่านการเล่น (มีอิสระในการตัดสินใจ) -> โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ลงมือกระะทำกับวัตถุ

   2. ครูจัดประสบการณ์ -> เด็กเล่นตามที่ครูวางแผนไว้

การจักกิจกรรมให้เหมือนกันฝาชี  = ครอบคลุมให้เด็กได้พัฒนาจากเดิม

การจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับขอบข่ายคณิตศาสตร์

หน่วย  =   กล่อง  (ขนาด,รูปทรง)
1.   นับ
2.   กำกับตัวเลข
3.   จับคู่ = ขนาดเท่ากัน(ใช้เชือกวัด หรือนิ้ว) // วัดหาค่า
4.   เปรียบเทียบ
5.   เรียงลำดับ
6.   นำเสนอข้อมูล - > เปรียบเทียบโดยจับคู่ 1 : 1  // ให้เห็นแผ่นภาพ นำเสนอเป็นกราฟ
    Ex 

7.   จัดประเภท =  "กล่องที่ใส่ของใช้ และไม่ใส่ของใช้" หรือ "กล่องที่ใส่ของกินได้ และกินไม่ได้"
                                         * ตั้งเกณฑ์ 1 เกณฑ์ *
8.   พื้นที่ = ดินน้ำมันใส่ในกล่อง โดยดินนำมันต้องมีขนาดเท่ากัน
    Ex

ครูต้องเตรียมดินน้ำมันที่เท่ากัน -> แทนค่า -> กำกับตัวเลข -> เปรียบเทียบ -> นำเสนอ -> เรียงลำดับ

9.   ตามแบบ = อนุกรม เช่น.. ดาร์ลี่ ลูกพรุน ดาร์ลี่ ลูกพรุน
10. เศษส่วน =
                     *ทั้งหมด* กี่กล่อง -> นับจำนวน -> จัดประเภทที่ใส่ของกิน -> มี .... ของทั้งหมด
    คำว่า "ครึ่ง" = แบ่งกล่องครึ่งหนึงใช้ทำงานศิลปะ โดย .. จับ 1 : 1 หรือ จับ 2 : 2
11. อนุรักษ์ = เปลี่ยนตำแหน่ง แต้ต้องมีขนาดเท่ากัน




ให้นักศึกษาจับกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน



กลุ่มของฉันได้ หัวข้อ "การวางแผน"
หนอนน้อยเจ้าสำราญ

  




การประเมิน
          กระบวนการคิด -> พัฒนาการ

จากกิจกรรมได้ความรู้เรื่องคณิตศาสตร์ คือ พื้นที่, จำนวน, ตำแหน่ง, ขนาด, ทิศทาง และการเรียงลำดับ




วันเสาร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2555

ครั้งที่ 5

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2555


กิจกรรมการเรียนการสอน

 เนื้อหาสาระในหนังสือ  คู่มือกรอบมาตรฐาน การเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย มีอะไรบ้าง ?


มาตรฐานการเีีรียนรู้ = เกณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับได้
.
 เด็กปฐมวัยเรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์บ้าง ?
     


     ให้นักศึกษา จับคู่ (เดิม) แล้วมารายงาน ขอบข่ายคณิตศาสตร์   ที่จะนำมาจัดกิจกรรมให้เด็กใน
 หน่วย  สัตว์   หน้าชั้นเรียน  ทุกกลุ่ม !!

      ** อาจารย์พูดถึงการจดบันทึก ว่าต้องมี สมุดจด  เพราะจะได้ดูงานที่ทำไปแล้วได้จากสมุดจดไม่ใช้รอแต่งานที่ส่งอาจารย์ไปแล้ว ...

หน่วย  สัตว์

1. การนับ = นับสัตว์ในสวนสัตว์
2. ตัวเลข  = เป็นตัวกำกับตัวเลขจากมาไปหาน้อย  ( ตัวเลข  -> แทนค่าจำนวน )
3. จับคู่     = ตัวเลขกับตัวเลข และรูปทรง
4. จัดประเภท = แยกประเภทของสัตว์ คือ สัตว์บก และ  สัตว์น้ำ
5. การเปรียบเทียบ =  สัตว์บก กับสัตว์น้ำ สัตว์ชนิดใดมากกว่า หรือน้อยกว่ากัน
6. การจัดลำดับ =  หาค่า, จับคู่ 1 : 1(ถ้าเด็กยังไม่มีประสบการณ์ด้านตัวเลขากพอ) ,นำมาเรียงลำดับ
7. รูปทรง และพื้นที่ = ไม่จำเป็นต้องจัด "ลำตัว" ของสัตว์ เสมอไป สามารถจัดเป็น ขนาดของกรงสัตว์ หรือ กำหนดรูปทรงแล้วถามว่า ... รูปทรงขนาดนี้สัตว์จะอยู่ในกรงได้ประมาณกี่ตัว ?
8. การวัด = วัดอาหารที่สัตรว์กินในแต่ละวัน,วัดพื้นที่ที่สัตว์อยู๋
9. เซต = การจัดตู้ปลา อุปกรณ์มีอะไรบ้าง ?
10. เศษส่วน = (สอนพื้นฐานให้กับเด็ก) การแบ่งนกในกรงในจำนวนที่เท่ากัน >> เน้นให้เด็กแบ่งครึ่ง ...
11. การทำตวามแบบ = สร้างแบบ และทำตวามแบบ
12. การอนุรักษ์ = ดินน้ำมัน (รูปร่างเปลี่ยนแปลงไป แต่ปริมาณเท่าเดิม) ,ทราย (เอาทรายใส่ขวดแล้วเอาแม่พิมพ์มาทำให้รูปร่างต่างกัน)
     



สมาชิก (เซต)

น.ส. สุภาภรณ์  ชุ่มชื่น  เลขที่ 12
น.ส. ศิวิมล มณีศรี เลขที่ 24

หน่วย ผัก

1. การนับ = นับผักในตะกร้า
2. ตัวเลข = เรียงผักที่นับออกจากตะกร้า (ลำดับที่ 1,2,3,... ตามลำดับ)
3. จับคู๋ = จำนวนผัก กับเลขฮินดูอารบิก
4. จัดประเภท = แผกผักใบเขียว
5. การเปรียบเทียบ = จากขนาด ,รูปทรง ,จำนวน
6.  การจัดลำดับ = วัดผัก โดยการเปรียบเทียบ 1 : 1
7. รูปทรงและพื้นที่ = ตะกร้าสี่เหลี่ยม  ใส่แครอทได้กี่หัว?

*ย้ำ* ต้องกำหนดสิ่งที่จะสอนเด็กเพียงแค่ 1 เรื่อง
 เพราะเด็กไม่สามารถรับรู้  หลายๆเรื่อง  ในครั้งเดียวได้

** ท้ายคาบอาจารย์ให้เขียน "ความรู้สึกในวันนี้" ** 

หมายเหตุ
   - อาทิตย์หน้าให้นำกล่องมา คนละ 1 กล่อง
   - การเรียนในวันนี้ทำให้คิดอะไรได้หลายๆอย่าง..