กิจกรรมการเรียนการสอน
เข้าเรียนครั้งแรก
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์แจกแจงรายละเอียด - เข้าเรียน 09.00 น. พร้อม เซ็นชื่อเข้าเรียน มาช้า 15 นาที ถือว่า ขาด
- ทักษะจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ ทำบ่อยๆ หรือ ฝึกฝน (ฟัง,พูด,อ่าน และ เขียน)
- การฝึก การสังเกตภาษาของเด็กได้จาก คำถาม
อาจารย์แจกกระดาษ A4 ในห้องแล้วให้ตอบคำถาม ดังนี้
การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย คือ
การจัดกิจกรรมเพื่อให้เด็กสามารถนับจำนวน บอกลักษณะรูปเรขาคณิตได้ และให้เด็กสามารถ บวก ลบ ได้ตามวัย
ความรู้ที่คาดว่าจะได้จากการเรียนวิชานี้ คือ
- ความรู้เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์
- วิธีการจักประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัย
- การทำสื่อที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
- การประเมินทักษะทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
อาจารย์แจกกระดาษ A4 ในห้องแล้วให้ตอบคำถาม ดังนี้
การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย คือ
การจัดกิจกรรมเพื่อให้เด็กสามารถนับจำนวน บอกลักษณะรูปเรขาคณิตได้ และให้เด็กสามารถ บวก ลบ ได้ตามวัย
ความรู้ที่คาดว่าจะได้จากการเรียนวิชานี้ คือ
- ความรู้เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์
- วิธีการจักประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัย
- การทำสื่อที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
- การประเมินทักษะทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
แบ่งออกได้ 3 อย่าง คือ การจัดประสบการณ์ / คณิตศาสตร์ / เด็กปฐมวัย
อธิบายได้ดังนี้
เด็กปฐมวัย แบ่งเป็น 2 หัวข้อคือ
1.) พัฒนาการ (ต้องทำอย่างต่อเนื่อง)
- มีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน แต่เน้น ด้านสติปัญญา
ทฤษฎีเพียเจท์ แบ่งเด็กเป็น 2 ขั้น คือ
(1.) ขั้น Sensory Moter stage /เด็กแรกเกิด - 2 ปี ->เรียนรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง 5
(2.) ขั้น Preoperational stage / 2 - 6 ปี แบ่งเป็น
- 2 - 4 ปี = การรับรู้ผ่านวิธีการเรียนรู้ต่างๆ
- 4 - 6 ปี = มีการส่งให้สมองรับรู้จากเดิมที่มีอยู่
- การเปลี่ยนแปลงตามลำดับขั้น
พฤติกรรมที่พบเห็น เช่น พลิก -> คว่ำ -> คืบ -> คลาน -> นั่ง -> ยืน -> เดิน -> วิ่ง
2.) วิธีการเรียนรู้ (รู้เข้ารู้เรา)
- ลงมือกระทำกับวัตถุโดยประสาทสัมผัสทั้ง 5
- ทำอย่างต่อเนื่อง
- ให้อิสระที่จะเลือก
สรุปได้ดังนี้
การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (พัฒนาตนเอง, เรียนรู้บริบท และ มีชีวิตรอดในสังคม)
การเรียนรู้มีทั้ง ด้านบวก และด้านลบ (เช่น การข้ามถนน การขโมย เป็นต้น)
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากประสบการณ์แล้วมีโอกาสได้ปฏิบัติ
การรับรู้ คือ (การเข้าใจเพียงอย่างเดียว) การได้รับ ประสบการณ์ใหม่ จากสิ่งที่กระทำ
** ความสัมพันธ์ระหว่าง การับรู้กับการเรียนรู้ คือ เมื่อประสบการใหม่สัมพันธ์กับประสบการณ์เดิม ส่งผลให้เกิด "การเรียนรู้" หรือปรับเป็น "องค์ความรู้ใหม่"
หมายเหตุ
- จะมีการทดสอบก่อนเรียนทุกครั้ง
- ชี้แจงวัตถุประสงค์ที่จะเรียนในวันนั้น
- มีนัดประชุมอาจารย์ที่ปรึกษา วันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 เวลา 14.00 น.
เด็กปฐมวัย แบ่งเป็น 2 หัวข้อคือ
1.) พัฒนาการ (ต้องทำอย่างต่อเนื่อง)
- มีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน แต่เน้น ด้านสติปัญญา
ทฤษฎีเพียเจท์ แบ่งเด็กเป็น 2 ขั้น คือ
(1.) ขั้น Sensory Moter stage /เด็กแรกเกิด - 2 ปี ->เรียนรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง 5
(2.) ขั้น Preoperational stage / 2 - 6 ปี แบ่งเป็น
- 2 - 4 ปี = การรับรู้ผ่านวิธีการเรียนรู้ต่างๆ
- 4 - 6 ปี = มีการส่งให้สมองรับรู้จากเดิมที่มีอยู่
- การเปลี่ยนแปลงตามลำดับขั้น
พฤติกรรมที่พบเห็น เช่น พลิก -> คว่ำ -> คืบ -> คลาน -> นั่ง -> ยืน -> เดิน -> วิ่ง
2.) วิธีการเรียนรู้ (รู้เข้ารู้เรา)
- ลงมือกระทำกับวัตถุโดยประสาทสัมผัสทั้ง 5
- ทำอย่างต่อเนื่อง
- ให้อิสระที่จะเลือก
สรุปได้ดังนี้
การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (พัฒนาตนเอง, เรียนรู้บริบท และ มีชีวิตรอดในสังคม)
การเรียนรู้มีทั้ง ด้านบวก และด้านลบ (เช่น การข้ามถนน การขโมย เป็นต้น)
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากประสบการณ์แล้วมีโอกาสได้ปฏิบัติ
การรับรู้ คือ (การเข้าใจเพียงอย่างเดียว) การได้รับ ประสบการณ์ใหม่ จากสิ่งที่กระทำ
** ความสัมพันธ์ระหว่าง การับรู้กับการเรียนรู้ คือ เมื่อประสบการใหม่สัมพันธ์กับประสบการณ์เดิม ส่งผลให้เกิด "การเรียนรู้" หรือปรับเป็น "องค์ความรู้ใหม่"
หมายเหตุ
- จะมีการทดสอบก่อนเรียนทุกครั้ง
- ชี้แจงวัตถุประสงค์ที่จะเรียนในวันนั้น
- มีนัดประชุมอาจารย์ที่ปรึกษา วันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 เวลา 14.00 น.
ว้าว!!!บล็อกน่ารักอ่ะ^^
ตอบลบ