กิจกรรมการเรียนการสอน
การแบ่งกลุ่ม
** อาจารย์ ให้ กระดาษ A4 มา 1 แผ่น แล้วให้แบ่งเป็นสี่ส่วน จากนั้นให้นักศึกษาวาดรูปที่บอกถึงสัญลักษณ์ประจำตัวของเรา และให้เขียนชื่อจริงไว้
ให้นักศึกษานำไปแปะบนกระดาน ตามเกณฑ์การแบ่งกลุ่มข้างต้น
** อาจารย์ถามเกี่ยวกับการจับกลุ่มเพื่อน ของนักศึกษาทั้งหมด ว่าให้เกณฑ์อะไรในการแบ่ง
ตอบ สนิทกัน เพราะกลับบ้านทางเดียวกัน และสามารถปรับตัวเข้ากันได้
** อาจารย์ได้แนะนำว่า คนเป็นครูต้องเป็นแบบอย่างให้แก่เด็ก ต้องระมัดระวังในการเรียงลำดับ ทุกครั้งที่มีการเรียงลำดับ ต้องวางเรียงกันใน เลขฐานสิบ คือ 1-10
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
นิตยา ประพฤติกิจ.2541:17 - 19
1. การนับ (Counting) = การเพิ่มค่า (+) ,การลดค่า (-), การนับปากเปล่า, มีความหมาย
2. ตัวเลข (Number) = แทรค่าจำนวน, เรียงลำดับ
3. จับคู่ (Matching) = ความเหมือน, ตัวเลข - จำนวน
4. จัดประเภท (Classification)
5. การเปรียบเทียบ (Compering) = ดูได้ด้วยตาเปล่า
6. การจัดลำดับ (Shape and space)
7. รูปทรงและพื้นที่ (Shape)
8. การวัด (Measurement)
9. เซต (Set) = การจับกลุ่มโดยอาศัยการเชื่อมโยง
10. เศษส่วน (Fraction) = แบ่งให้เท่าๆกัน
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย (Pat tarning) = ตัวเลข, พยัญชนะ ,ตัวอักษร
12. การอนุรักษ์ หรือ การคงที่ด้านปริมาณ (Conservation) เช่น การที่เอาน้ำที่มีปริมาณเท่ากัน แต่นำไปใส่ในแก้วที่ มีลักษณะต่างกัน คือทรงสูง กับทรงเตี้ย
งาน
ให้นักศึกษาขจับคู่ 2 คนเขียนกิจกรรมขึ้นมา 1 หน่วย โดยให้นำขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ทั้ง 12 มาใช้ในการจัดกิจกรรม ส่งในคาบ